วันอาทิตย์ที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่13
วันที่18กุมภาพันธ์2555
(เรียนชดเชย)

- แจกกระดาษและให้วาดภาพอะไรก็ได้
- จับกลุ่ม8คนวาดภาพและเล่าเรื่อง
- แต่งเรื่องให้ต่อเนื่องกันกับเพื่อน 8 คน  จากภาพวาดของตัวเอง








เรื่องที่แต่งขึ้นเอง
 ณ ป่าแห่งหนึ่ง มีสัตว์อยู่มากมาย มีช้าง2เชือก เป็นเพื่อนกัน ในป่านั้นมีดอกไม้แสนสวยอยู่มากมาย มิกกี้เมาส์ได้มาเที่ยวเล่นในป่า แล้วได้มาพบกับดอกไม้ มิกกี้เมาส์จึงนำดอกไม้กลับไปที่บ้านและนำมาปลูกใส่กระถาง และในบ้านของมิกกี้เมาส์มีรังผึ้งอยู่ตัวหนึ่งเมื่อผึ้งเห็นดอกไมจึงบินเข้ามาตอมที่ดอกไม้ดอกนั้นผึ้งบินไปตอมดอกไม้ที่อยู่ในบ้านอีกดอกหนึ่งจึงบินไปเจอแมลงปอจึงชวนแมลงปอคุยจนในที่สุดผึ้งน้อยกับแมลงปอก็เป็นเพื่อนกัน


- ให้ความสำคัญกับผู้เรียน 
         - เด็กได้พูดด้วยตัวเอง 
         - เด็กได้คิดด้วยตัวเอง 
         - ครูมีหน้าที่ ให้คำแนะนำ ชี้แนะ 
มีประสบการณ์ ทำให้เกิดการเรียนรู้
       ประสบการณ์  >>  ลงมือทำ >> สมอง >> การรับรู้ >> เปลี่ยนแปลง >> การเรียนรู้ >> แสดงออก
-  ลักษณะของภาษา
         - เนื้อหาของภาษา  หัวเรื่อง เนื้อเรื่อง หรือ ความหมายของสาร ที่จะใช้สื่อกับผู้อื่น ประกอบด้วยชื่อของคน สัตว์ สิ่งของ เหตุการณ์ ความสัมพันธ์ 
         - รูปแบบของภาษา เสียง สระพยัญชนะ วรรณยุกต์ คำที่มีความหมาย และ ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ เสียงที่เปล่งออกมาเป็นหน่วย ลำดับคำ หรือ ประโยค
-ทำภาพแทนคำ
-ทำท่าทาง ตาม พยางค์ ชื่อ ของตัวเอง
- ทำท่าทาง ตามชื่อเพื่อน+ของตัวเอง
- ร้องเพลง ก-ฮ
พยัชนะ มี 44 ตัว 28 เสียง
อักษรกลาง มี 9 ตัว คือ ก,จ,ด ,ต,บ,ป,อ, ฎ,ฏ (ไก่จิกเฎ็กตายเด็กฏายบนปากโอ่ง)
อักษรสูง มี 11 ตัว คือ ข ,ฃ ,ฉ, ฐ, ถ ,ผ, ฝ, ส, ษ,ศ,ห (ฉันฝากขวดขี้ผึ้งใส่ถุงให้เศรษฐี)
อักษร ต่ำเดี่ยว มี10 ตัว คือ ง ,ญ,น,ย,ณ,ร,ว,ม,ฬ,ล (งูใหญ่นอนอยู่ณริมวัดโมฬีโลก)
อักษรต่ำคู่ ค, ฅ, ฆ ,ช, ฌ,ซ ,ฑ, ฒ, ท, ธ,พ, ภ,ฟ,ฮ
- ทำหนังสือหัดอ่าน  พยัญชนะ + สระ



บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่12
วันที่16กุมภาพันธ์2555
** การเรียนการสอนที่มีความหลากหลาย
- การลงมือปฎิบัติ
- การจดหางานด้วยตัวเอง
- การให้ผู้เรียนเป็นสำคัญ
**การทำหนังสือภาพ
- เลือกความคิดรวบยอดที่ต้องการให้เด็กมีประสบการณ์
หน้าที่ของภาษา
- สื่อสารและเป็นเครื่องมือในการสื่อความหมาย


** งานที่สั่ง
- จับกลุ่ม 4คน ตั้งทำหนังสือภาพ พร้อมคำทาย





บันทึกการเรียนรู้ครั้ง11
วันที่9กุมภาพันธ์2555
**หมายเหตุ-ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจากอาจรย์อบรมต่างจังหวัด
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่10
วันที่ 2 กุมภาพันธ์2555
อิทธบาท4
ฉันทะ - ความพอใจรักใครในสิ่งนั้น
วิริยะ - ความพากเพียรในสิ่งนั้น
วิมังา - ความมั่นสอดสองในสิ่งนั้นในเหตุผลของสิ่งนั้น


  ดูหนังสือนิทานโดยใช้โปรแกมอิเล็กทรอนิกเรื่องแม่ไก่แดง



ให้แสดงความคิดเห็นต่อภาพว่าเป็นอย่างไร
- สีตัวหนังสือ
- ขนาดตัวหนังสือ 
- สีตัวละครไม่สอดคล้องกับเนื้อหา
ข้อดีของการเล่านิทานสด
- ได้สื่อสารกับเด็ก
- ไม่ปิดกั้นความคิด
- ได้แดสงความรู้สึก
ข้อจำกัดของการเล่านิทานสด
- เมื่อไม่สะดวงเล่าหรือไม่มีเวลาอาจไม่สามารถเล่าได้ในตอนนั้น
คำถามที่เหมาะสมในการถามเด็กคือ
- ทำไม
- เพราะเหตุใด
- อย่างไร
มีการร้องเพลงเปนภษาหลายภาษา







** สรุปเนื้อหาที่เรียนมาตั้งแต่ต้นจนจบ

วันศุกร์ที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่9
วันที่ 26มกราคม2555
หลักในการจัดประสบการณ์ทางภาษาให้กับเด็กต้องคำนึงถึง
* สิ่งที่เด็กสนใจ
* พัฒนาการของเด็ก
* สิ่งที่เด็กเชื่อมโยง
นักศึกษาดูและสังเกตภาพที่เด็กเขียน สิ่งนี้จะสท้อนพัฒนาการและความรู้สึกของตัวเด็ก



   จากภาพนี้สะท้อนให้เห็นถึง
 - พัฒนาการของเด็ก
 - ลักษณะเล้นที่เขียน
 - ความรู้สึกที่มีต่อพ่อแม่
 - เป็นเครื่องมือที่สะท้อนถึงความคิด

บลูมและฮาเลย์ให้ความหมายของภาษไว้ 3ประการคือ
1.เป็นภาษาสัญญาลักษณ์หรือรหัสใช้แทนสิ่งของได้
2.ภาษเป็นสัญญาลักษณ์ของมโนทัศน์
3.ภาษามีกฎเกณฑ์

ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาษาของเด็ก
- วัฒนธรรม
- สังคม
- สิ่งแวดล้อม

การจัดสภาพแวดล้อมทางภาษา
- ติดคำต่างๆไว้ในบริเวณต่างๆ
- การเห็นตัวหนังสือมากกว่าในหนังสือ

องค์ประกอบของภาษา
- เสียงแบ่งออกเป็น2 ประเภท คือ
การอ่าน  สัญญาลักษณ์การอ่าน
ระบบเสียงตัวอักษร
- ไวยากรณ์
คำ ประโยค
- ความหมาย
คำศัพท์ ประโยคข้อความ
**งานที่สั่ง
ให้นักศึกษาหาประสบการณ์ทางภาษาที่จัดให้กับเด็กมาคนละ1กิจกรรม




บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 8
วันที่22มกราคม2555
(เรียนชดเชย)
เพื่อนนำเสนอ วิดิโอ 
อาจารย์เปิด วิดิโอ การเล่านิทาน ทางโทรทัศน์ครู
ภาษ เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้
นิทานคือเรื่องราวที่สนุกสนาน
การสังเกตุทำให้รู้ว่า เด็กชอบหรือไม่
ให้เด็กมีโอกาสได้เข้าร่วมและแสดงความคิด
ดนตรีเกี่ยวข้องกับภาษาคือแยกแยะ
การดูนิทาน คือ การอ่านจากภาพ
ควรให้เด็กได้มีการสังเกต ออกแบบ
บุคลิกภาพของครูปฐมวัย
การให้วรรณกรรมเป็นฐานของภาษา
งานที่สั่ง
สมัครสมาชิก โทรทัศน์ครู แล้วลิงก์และเขียนว่าได้อะไรบ้าง



บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 7
วันที่19มกราคม2555
**หมายเหตุ ไม่มีการเรียนการสอน

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 6
วันที่ 12 มกราคม 2555
** หมายเหตุ ไม่มีการเรียนการสอน
บันทึกการเรียนรู้ครั้ง5 
วันที่5 มกราคม 2555
**หมายเหตุ ไมมีการเรียนการสอน
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่4
วันที่29 ธันวาม 2554
- ให้หาภาษาถิ่นของตัวเองมาให้ได้มากที่สุด
ภาษาถิ่นจังหวัดชัยภูมิ ดังนี้ 
โต = เธอ
เฮา  = เรา
เฮียน = บ้าน
ตะหวัก = ทัพพี
หง่วก = หัน
คึดฮอต = คิดถึง
บักหุ่ง = มะละกอ
บักเคียบ = น้อยหน่า
บักมี้ = ขนุน
งึด =  แปลกใจ
ขี้เกี้ยม = จิ้งจ๊ก
ปลาข้อ = ปลาช่อน
เบิ่ง =  ดู
เทิ่ง = บน
มอ =  เนินเขาสูง
ปาดโถ่ = ไม่น่าเชื่อ
เคียด โกรธ
ล่าง ใต้
มัก = ชอบ

วันพฤหัสบดีที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่3

วันที่ 22 ธันวาคม 2554
- ดูวิดิโดที่ปัยสัมภาษณ์มา
- ดูวิดิโอของเพื่อนๆ
-อาจารย์แนะนำวิธีการใช้ภาษา
งานที่สั่ง
- จับกลุ่ม4คนหาภาพและนำไปให้เด็กดู